อาหารหลังคลอดสำหรับคุณแม่ที่ให้นมบุตรเอง

21 เม.ย. 2561 เวลา 20:46 | อ่าน 3,156
แชร์ไปยัง
L
 
อาหารหลังคลอดสำหรับคุณแม่ที่ให้นมบุตรเอง
อาหารหลังคลอดสำหรับคุณแม่ที่ให้นมบุตรเอง

คุณแม่หลังคลอดที่ต้องการให้นมบุตรด้วยตัวเองค้องรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ให้พลังงาน แร่ธาตุ สารอาหารสูงทันทีในช่วงหลังคลอด เนื่องจากร่างกายคุณแม่หลังคลอดผ่านการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระ และทางด้านฮอร์โมนอย่างมากแถมยังต้องผลิตน้ำนมจำนวนมากหลังคลอดทันทีอีก คุณแม่หลังคลอดต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นประมาณ 300 calories ต่อวันจากช่วงปกติ (ก่อนตั้งครรถ์) หรือปริมาณเท่าเดิมระหว่างการตั้งครรถ์ โดยอาหารที่ควรรับประทาน ได้แก่ โปรตีน, แป้ง, ธาตุเหล็ก, แคลเซียม และ น้ำมัน omega 3


อาหารที่มีโปรตีนสูง

คุณแม่หลังคลอดที่ต้องการให้นมบุตรเองมีความจำเป็นต้องบริโภคโปรตีนเพิ่มขึ้นจำนวน 71 กรัม ต่อวันจากปกติ โดยเป็นเนื้อสัตว์ประมาณ 3 – 4 ปอนด์ และนมโคประมาณ 4 – 5 แก้ว เพื่อให้ได้โปรตีนเพียงพอ นอกจากนมโคจะให้โปรตีนสูงแล้วนั้น ยังให้แคลเซียมซึ่งช่วยในการบำรุงกระดูกอีกด้วย อาหารหลังคลอดแนะนำที่มีโปรตีนสูง ได้แก่ เนื้อปลา, เนื้อไก่, เนื้อไก่ดำ, ไขไก่, ถั่ว และธัญพืช

ส่วนคุณแม่หลังคลอดที่ทานมังสวิรัติควรเช็คระดับของวิตามิน B 12 ที่รับประทานต่อวันว่าเพียงพอหรือไม่ เนื่องจากวิตามิน B 12 ส่วนมากจะอยู่ในเนื้อสัตว์ โดยการขายวิตามิน B 12 จะทำให้เกิด อาการอ่อนเพลีย, ไม่อยากอาหาร และคลื่นไส้อาเจียน จึงควรปรึกษาแพทย์ หรือนักโภชนาการ


อาหารจำพวกแป้ง

คุณแม่หลังคลอดต้องการพลังงานจำนวนมากเพื่อใช้ในการสร้างน้ำนม และการเลี้ยงบุตร ซึ่งคาร์โบไฮเดรต หรืออาหารจำพวกแป้งเป็นแหล่งพลังงานที่ร่างการสามารถดูดซับ และนำไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงการทานน้ำตาล หรือของหวานในปริมาณมาก เนื่อจากน้ำตาลจะเพิ่มระดับน้ำตาลในเลือดอย่างรวดเร็ว และจะลดต่ำลงอย่างรวดเร็วเช่นกัน ซึ่งการลดต่ำลงของระดับน้ำตาลในเลือดอย่างรวดเร็วจะส่งผลให้เกิดอาการอ่อนเพลีย, เหนื่อย และอารมณ์แปรปรวน จึงควรเลือกทานแป้ง เข่น ขนมปัง หรือข้าว ซึ่งร่างกายจะค่อยๆดูดซับพลังงาน และร่างกายนำไปใช้ได้อย่างสม่ำเสมอ


อาหารจำพวกผัก และผลไม้

ผัก และผลไม้ ถือเป็นอาหารหลังคลอดที่สำคัญที่ให้พลังงานสูง (ให้คาร์โบไฮเดรตสูง) สำหรับคุณแม่หลังคลอด นอกจากนั้นยังให้แร่ธาตุ และวิตามินที่จำเป็นสำหรับการบำรุงร่างกาย และสร้างน้ำนมอีกด้วย ผัก และผลไม้ให้ปริมาณไฟเบอร์ที่สูงมากซึ่งช่วยลดอาการท้องผูกซึ่งเป็นปัญหาหลักสำหรับคุณแม่หลังคลอดเลยที่เดียว อย่างไรก็ตาม ควรเลือกซึ่งผัก และผลไม้ปลอดสารเคมี เนื่องจากช่วงหลังคลอดเป็นช่วงที่ร่ายกายมีความเปราะบาง และต้องการดูดซับสารอาหารอย่างมาก การได้รับสารเคมีเข้าไปจำนวนมากอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงต่อสุขภาพได้


อาหารจำพวกไขมัน

ไขมันที่ดีต่อสุขภาพของคุณ และคุณภาพน้ำนมแม่ คือ ไขมัน omega 3 ซึ่งพบได้มากในเนื้อปลา โดยไขมัน omega 3 ช่วงบำรุงให้น้ำนมคุณแม่มีคุณภาพช่วยบำรุงสมอง และระบบสายต่อของบุตรน้อย อย่างไรก็ตาม การให้ได้ไขมัน omega 3 นั้นมาจากการทานเนื้อปลาจำนวนมาก จึงควรเลือกเนื้อปลาที่สะอาดปลอดสารพิษ และหลีกเลี่ยงปลากะป๋องซึ่งมีสารตะกั่วสูง


21 เม.ย. 2561 เวลา 20:46 | อ่าน 3,156


รีวิวบ้านใหม่ ไอเดียสร้างบ้าน
 
แชร์
L
ซ่อน
แสดง
มาใหม่
ดวงกับดาวประจำวันที่ 17-23 มีนาคม 2567
278 17 มี.ค. 2567
โฆษกรัฐบาล เผย ผลงานนายกฯ ดันราคายางสูงขึ้นทะลุ 90 บาท สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ในรอบ 7 ปี
28 13 มี.ค. 2567
ขับรถระยะสั้นๆ เป็นประจำ แบตเสื่อมไว เสี่ยงรถพังจริงหรือ ?
309 10 มี.ค. 2567
น้ำเปล่ากับน้ำยาอื่นๆ แบบไหนใช้เติม ฉีดกระจก ดี?
438 10 มี.ค. 2567
ดวงกับดาวประจำวันที่ 10-16 มีนาคม 2567
578 10 มี.ค. 2567
เชิญชวนลูกหนี้ กยศ.ลงทะเบียนแจ้งความประสงค์เพื่อขอรับเงินคืนในส่วนที่ชำระเกิน ตรวจสอบสิทธิได้คืนที่นี่
862 9 มี.ค. 2567
รองโฆษกรัฐบาล ย้ำเตือนประชาชนอย่าหลงกล ตกเป็นเหยื่อมิจฉาชีพ เผยมูลค่าความเสียหาย เดือน ก.พ. 67 กว่าสองพันล้านบาท หากถูกหลอก แนะแจ้งความออนไลน์
631 9 มี.ค. 2567
​รองรัดเกล้าฯ เผยหลักเกณฑ์การขอรับการให้บริการสงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยากลำบาก ไม่เกินวงเงินครั้งละ 3,000 บาท ไม่เกิน 3 ครั้ง/คน/ปี
560 9 มี.ค. 2567
กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงาน ก.คศ. เตรียมการปรับเงินเดือนของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
749 5 มี.ค. 2567
ย้ำรัฐบาลลุยส่งเสริม ฮาลาลไทย สู่ ASEAN Halal Hub ภายในปี 2571 ตั้งเป้า ภายใน 5 ปี จ้างงานเพิ่ม 1 แสนคนต่อปี จัดงาน Kick off การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลไทย
57 5 มี.ค. 2567
ดูเพิ่มเติม
 
หาเพื่อนไลน์
ซื้อขายรถบ้าน.com
เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์
หางานราชการ
  English
TOEIC กับ การขึ้นเงินเดือน GED VS กศน ไทย (สอบเทียบไทย) แนะนำที่เรียน IELTS ยอดนิยม ของ เด็กอินเตอร์ TOEIC Online GED CU-TEP SAT
 
บทความกลุ่มเดียวกัน