กินทุเรียนแล้วร้อนใน

4 มิ.ย. 2557 เวลา 20:26 | อ่าน 17,072
 
กินทุเรียนแล้วร้อนใน

เมื่อพูดถึง "ทุเรียน" เอ็นทรีเคดอทไอเอ็นดอททีเอช (N3K.IN.TH) เชื่อว่า คุณผู้หญิงหลายๆ ท่านย่อมไม่ค่อยจะปฏิเสธที่จะกินทุเรียนใช่ไหมล่ะค่ะ แต่ก็มีอีกหลายท่านที่กินทุเรียนแล้วร้อนใน วันนี้เอ็นทรีเคดอทไอเอ็นดอททีเอช (N3K.IN.TH) จึงทางออกสำหรับใครหลายๆ คนที่ชอบ กินทุเรียนแล้วร้อนใน มาฝากกันด้วยค่ะ แม้น่านี้จะเป็นน่าทุเรียนไม่ว่าจะเดินไปทางไหนหรือทางใดทุเรียนก็มักจะมากองอยู่ล่ำไปยัวน้ำลายดีแท้ นอกจากความอร่อยในทุเรียนแล้ว ความอ้วนในทุเรียนก็ตามมาแบบติดๆ อีกด้วย แถมบ้างครั้ง กินทุเรียนแล้วร้อนใน อีกต่างหาก ก็ทุเรียนเป็นผลไม้ที่เต็มไปด้วยแป้งและน้ำตาลที่ให้พลังงานมากเหลือหลาย ยิ่งกินทุเรียนคู่กับข้าวเหนียมมูลด้วยแล้วยิ่งแซ่บเหลือหลาย แต่คุณผู้หญิงทราบหรือไม่ค่ะว่า ทุเรียนนั้นเป็นธาตุร้อนหากคุณเป็นคนธาตุร้อนอยู่แล้วด้วยการรับประทานทุเรียนในอากาศที่ร้อนอบอ้าวเช่นนี้ก็มีผลให้คุณ กินทุเรียนแล้วร้อนใน ได้ค่ะ และรวมถึงอาจะไม่สบายอีกด้วยค่ะ เอาเป็นว่าเรามาวิธีแก้ร้อนในในเวลาที่กินทุเรียนไปพร้อมกับเอ็นทรีเคดอทไอเอ็นดอททีเอช (N3K.IN.TH) กันเลยดีกว่าค่ะ



อาการ : กินทุเรียนแล้วร้อนใน

อาการร้อนในจากการกินทุเรียนมากๆ มักจะทำให้มีแผลในปาก เจ็บคอ ไอ มีไข้ ปวดศีรษะ จุกแน่นท้อง มีขี้ตามาก ครั่นเนื้อครั่นตัว รู้สึกไม่สบาย อึดอัด หน้าแดง ลิ้นแดง ตาแดง รู้สึกว่าผิวตัวร้อนผ่าวๆ ฯลฯ การแพทย์ทางเลือกไม่ว่าจะเป็นแพทย์จีนหรือแพทย์ไทย ต่างแนะนำทางแก้ร้อนในไว้มากมาย แต่ล้วนยึดหลักการเดียวกันนั่นคือ ให้กินอาหารธาตุเย็น (หยิน) ลงไปเพื่อรักษาสมดุลของร่างกาย


- อาหารธาตุร้อน (หยาง) เช่น อาหารที่ให้พลังงานสูง อาหารประเภทเนื้อแดง อาหารทอด อาหารหวานมันจัด ตลอดจนผลไม้ที่มีแป้งหรือน้ำตาลมากๆ อย่าง ทุเรียน ลำไย ขนุน เป็นต้น

- อาหารธาตุเย็น (หยิน) เช่น อาหารที่มีรสจืด เปรี้ยว และขม หรือผักผลไม้ที่มีน้ำมาก น้ำตาลต่ำ เช่น มะระ พวกสะเดา แตงโม บวบ รากบัว มะนาว ส้ม มังคุด เป็นต้น

วิธีแก้อาการกินทุเรียนแล้วร้อนใน
ดังนั้นสำหรับคนที่กินทุเรียนจนร้อนในคุณควรกินอาหารธาตุเย็นที่มีฤทธิ์แก้ร้อนในตามลงไป ซึ่งมีให้เลือกมากมายตามความเหมาะสมและความชอบของคุณ เช่น
- ดื่มน้ำเปล่ามากๆ บางคนชงน้ำเกลือเจือจางดื่มสักแก้วก็ดีขึ้นได้เช่นกัน
- กินผักสดต่างๆ ให้มากขึ้น
- กินผลไม้ที่มีน้ำเยอะ ประเภทแตงโม แตงล้าน หรือผลไม้รสเปรี้ยวหรือหวานอมเปรี้ยว เช่น ส้ม สับปะรด มะนาวให้มากขึ้น หลายคนนิยมกินมังคุดตามหลังกินทุเรียน
- ดื่มเครื่องดื่มสมุนไพรต่างๆ ที่มีฤทธิ์ช่วยแก้ร้อนใน เช่น น้ำเก๊กฮวย น้ำหล่อฮั่งก๊วย น้ำรากบัว น้ำมะนาว น้ำใบบัวบก น้ำใบเตย เฉาก๊วย
- หากยังไม่ดีขึ้นคุณอาจต้องพึ่งยาขมยาแผนโบราณที่สรรพคุณเชื่อถือได้

แต่สิ่งที่ดีที่สุดคือ กินทุเรียนแต่พอประมาณ พอหอมปากหอมคอ คุณก็จะไม่ร้อนในและที่สำคัญไม่อ้วนขึ้นด้วยค่ะ


ขอขอบคุณข้อมูลวิธีการดูแลสุขภาพจาก goodfoodgoodlife
รูปภาพประกอบจากเว็บกะปุก

4 มิ.ย. 2557 เวลา 20:26 | อ่าน 17,072
กำลังโหลด ...


รีวิวบ้านใหม่ ไอเดียสร้างบ้าน
 
แชร์
L
ซ่อน
แสดง
มาใหม่
ดวงกับดาวประจำวันที่ 20-26 เมษายน 2568
76 20 เม.ย. 2568
เตือน!!! หลังเล่นน้ำสงกรานต์ เฝ้าระวัง 5 โรคยอดฮิต แนะนำหากมีอาการรีบพบแพทย์
126 19 เม.ย. 2568
เริ่ม 1 พ.ค.นี้ นทท.ชาวต่างชาติเดินทางเข้าไทย ต้องลงทะเบียนบัตรตม.6 แบบดิจิทัล หรือ TDAC ล่วงหน้า อย่างน้อย 3 วันก่อนเดินทาง ตามกฎใหม่ ตม.
24 19 เม.ย. 2568
เตือนคุณครู..!! เปิดเทอมนี้ ครูทุกคนต้องมี “ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู” แนะ ครูรีบต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ หลังคุรุสภาออกมาตรการ 5 ต. คุมเข้มทุกโรงเรียนทั่วไทย
116 19 เม.ย. 2568
ออกกำลังกายแล้วปวดกล้ามเนื้อจริงๆ แล้วควรหยุดพักจริงไหม?
38 17 เม.ย. 2568
ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 2568 ใช้ในปัจจุบัน
437 17 เม.ย. 2568
สงกรานต์สุดคึกคัก! นักท่องเที่ยวต่างชาติทะลุเฉลี่ยวันละกว่าแสนคน เพิ่มขึ้นกว่า 10% รัฐบาลยืนยันเดินหน้าหนุนท่องเที่ยวไทยตลอดปี 2568
127 16 เม.ย. 2568
สงกรานต์ไป-กลับต้องปลอดภัย! รัฐบาลสั่งเข้มดูแลประชาชนเดินทางกลับ ตรวจเข้มความปลอดภัยทุกเที่ยวเสริมจุดต่อเชื่อมขนส่งสาธารณะ อำนวยความสะดวกครบวงจร
161 16 เม.ย. 2568
เตือน! นักดื่ม มีเพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน เสี่ยงติดเชื้อเอชไอวี แนะทานยา PEP ภายใน 72 ชั่วโมง รับบริการได้ที่ รพ.สังกัด สธ.
186 16 เม.ย. 2568
ปลัด สธ. แถลงอุบัติเหตุช่วงสงกรานต์ วันแรกเกิดอุบัติเหตุ 211 ครั้ง ส่วนใหญ่จากขับรถเร็วเกิน เตือนการใช้ยาคลายกล้ามเนื้อ อาจทำให้ง่วงและเกิดอุบัติเหตุได้
60 12 เม.ย. 2568
ดูเพิ่มเติม
 
หาเพื่อนไลน์
ไอเดียบ้านสวย
เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์
หางานราชการ
  English
TOEIC กับ การขึ้นเงินเดือน GED VS กศน ไทย (สอบเทียบไทย) แนะนำที่เรียน IELTS ยอดนิยม ของ เด็กอินเตอร์ TOEIC Online GED CU-TEP SAT
 
บทความกลุ่มเดียวกัน
กำลังโหลด ...